บทความ

งานครั้งที่ 2 กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพองค์กร

บริษัทเเคลคอมพ์ได้ทำกิจกรรม 5 ส. การจัดระเบียบเรียบร้อยในที่ทำงานก่อให้เกิดสภาพการทำงานที่ดีปลอดภัย มีระเบียบเรียบร้อย นำไปสู่การเพิ่มผลผลิต สะสาง          คือ การแยกของที่ต้องการ ออกจากของที่ไม่ต้องการและขจัดของที่ไม่ต้องการทิ้งไป สะดวก         คือ การจัดวางสิ่งของต่างๆ ในที่ทำงาน ให้เป็นระเบียบเพื่อความสะดวก และ ปลอดภัย สะอาด         คือ การทำความสะอาด เครื่องมือ อุปกรณ์ และสถานที่ทำงาน สุขลักษณะ    คือ สภาพหมดจด สะอาดตา ถูกสุขลักษณะ และรักษาให้ดีตลอดไป สร้างนิสัย      คือ การอบรม สร้างนิสัยในการปฏิบัติงานตามวินัย ข้อบังคับอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนในการดำเนินงาน 5 ส. 1.ขั้นเตรียมการ (Perparation)        เมื่อหน่วยงานจะเริ่มต้นนำกิจกรรม 5 ส.มาใช้ สิ่งแรกที่จะต้องดำเนินการคือ การทำความเข้าใจกับผู้บริหารระดับสูง และจัดเตรียมแผนการดำเนินกิจกรรม ซึ่งสามารถดำเนินการตามลำดับดังนี้     1.1 สร้างความเพข้าใจกับผู้บริหารระดับสูง     1.2 การกำหนดนโยบายการดำเนินกิจกรรม 5 ส. โดยผู้บริหารสูงสุด     1.3 การกำหนดแผนการดำเนินกิจกรรม 5 ส.     1.4 ประกาศนโยบายให้ทุกคนทราบอย่างเป็นทางการ     1.5 อบรมให้ความ

งานครั้งที่ 3 กิจกรรมควบคุมความเสี่ยงของโรงงาน

รูปภาพ
การควบคุมความเสี่ยงขององค์กร ในสถานประกอบการ บริษัทแคลคอมพ์อีเล็คโทรนิคส์ นั้นมีการจัดการกับความเสี่ยง  โดย 1.กำหนดให้ใส่เสื้อสม๊อคทุกครั้งที่เข้าโรงงาน 2.กำหนดให้มีการสวมถุงมือ ผ้าปิดปาก สายกราว ชุดคลุมกันไฟฟ้าสถิต ก่อนจับแผ่นPCB ทุกครั้งเพื่อป้องกันไฟฟ้าสถิตทำความเสียหายให้กับแผ่น PCB 3.มีการจัดกิจกรรรมอบรมการดับเพลิงความรู้เรื่องการใช้ถังดับเพลิง เเละมีการซ้อมหนีไฟ 4.มีการจัดหารองเท้าเซฟตี้ให้กับพนักงานที่ต้องทำงานกับของที่มีน้ำหนัก 5.มีการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าโรงงานเพื่อที่จะไม่เป็นสถานที่แผร่เชื่อโรคสู่คนอื่น

งานครั้งที่ 5 ในสถานที่ฝึกงานใช้ระบบควบคุมคุณภาพอย่างไร

ระบบควบคุมคุณภาพ QC (Quality Control)   การควบคุมคุณภาพสินค้าให้เป็นไปตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้  และสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าสูงสุด ด้วยกระบวนการ Inspection คือกระบวนการการตรวจสอบตำหนิและจุดบกพร่องของผลิตภัณฑ์ เพื่อที่จะทำการส่งกลับไปแก้ไขหรือคัดทิ้ง จากนั้นจึงทำการบันทึกและเก็บสถิติของลักษณะรวมทั้งจำนวนผลิตภัณฑ์ต่างๆที่เกิดการบกพร่อง สำหรับนำไปวิเคราะห์สาเหตุปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น แล้วจึงทำการแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ผู้ผลิตสามารถทำการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพใกล้เคียงกับคุณสมบัติที่ตั้งไว้มากที่สุดต่อไป ISO 9001 Quality Management ISO 9001 เป็นมาตรฐานระบบการจัดการคุณภาพ (QMS) ที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อองค์กรทุกขนาด ออกแบบมาเพื่อเป็นเครื่องมือในการปรับปรุงธุรกิจให้มีประสิทธิภาพ การรับรองการจัดการคุณภาพ ISO 9001 สามารถช่วยคุณในการ: ปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ลดต้นทุน และเพิ่มผลกำไร เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ทำให้ลูกค้าพึงพอใจมากขึ้น เพิ่มจำนวนลูกค้า มีความยืดหยุ่นมากขึ้น และสร้างธุรกิจที่ยั่งยืน แสดงให้คุณเห็นถึงการกำกับดูแลกิจการที่ดี ทำงานอย่างมีประส

งานครั้งที่ 4 นักศึกษามีวิธีการขัดเเย้งในการทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงาน

วิธีการแก้ไขความขัดแย้ง    1.  เป้าหมายต้องชัด ต้องมากำหนดเป้าหมายกันใหม่ว่าจริงๆ แล้วเราจะเอาอะไรกันแน่ ว่าที่เราทะเลาะกันไปมานี่จริงๆ แล้วกลายเป็นเราเอาความคิดตัวเองเป็นใหญ่ จนลืมเป้าหมายที่แท้จริงขององค์กรไปเลย   2.  กำหนดบทบาทของแต่ละคนให้ชัดเจนขึ้น จะได้รู้ว่าคนแต่ละคนในองค์กร ในทีมทำอะไร มีหน้าที่อะไรกันบ้าง แบ่งให้ทราบกันชัดๆ ไปเลย และผู้บริหารคาดหวังอะไร   3.  กำหนดหลักปฏิบัติพื้นฐานร่วมกัน คือเป็นกฎขั้นต้น เช่น เวลามีความขัดแย้งเกิดขึ้น ห้ามโยน ความขัดแย้ง นี้ให้บุคคลที่ 3 ตัดสิน เพราะเขาจะตัดสินความคิดของเขาเพราะใครจะมารู้ดีเท่าตัวเรา และอาจทำให้กลายเป็นเรื่องทีร้ายแรงกว่าเดิม และต้องไม่หันไปหาพวกเพื่อหากำลังเสริม ถ้าเป็นอย่างนี้องค์กรจะเริ่มแตกเป็น 2 ส่วนแล้ว หากเกิดปัญหาแล้วต้องไปปล่อยทิ้งไว้นาน ต้องแก้ให้เสร็จใน 2-3 วัน อย่าทิ้งไว้นานจนเกินปัญหาเรื้อรัง จนแก้ไม่ทันแล้ว   4. ห้ามพูดพาดพิงถึงบุคคลอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่กำลังขัดแย้งกับเรา ในที่ประชุมตอนเขาไม่อยู่ ถ้าจะพูดก็ต้องพูดกันต่อหน้า   5.  ห้ามทำให้ ความขัดแย้ง ทางความคิดกลายเป็นความขัดแย้งระหว่างบุคคล

งานครั้งที่ 1โครงสร้างองค์การ นายติณณภพ วรรณนิยม สมค.2 /6131271108

รูปภาพ
โครงสร้างองค์การตามสายงานหลัก (Line Organization Structure) หมายถึงการจัดรูปแบบโครงสร้างให้มีสายงานหลัก และมีการบังคับบัญชาจากบนลงล่างลดหั่นเป็นขั้น ๆ จะไม่มีการสั่งการแบบข้ามขั้นตอนในสายงาน ซึ่งโครงสร้างแบบนี้เหมาะสมสำหรับองค์การต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการขยายตัวในอนาคตได้ เพราะเพียงแต่เพิ่มเติมโครงสร้างในบางสายงานให้มีการควบคุมบังคับบัญชาลดหลั่นลงไปอีกได้ การจัดองค์การแบบนี้ อาจจะคำนึงถึงสภาพของงานที่เป็นจริง เช่น แบ่งตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ หรือแบ่งตามอาณาเขต หรือแบ่งตามประเภทของลูกค้า หรือแบ่งตามกระบวนการ ผลดีของโครงสร้างแบบนี้มีหลายประการ เช่น การจัดโครงสร้างด้วยรูปแบบที่เข้าใจง่าย การบังคับบัญชาตามสายงานเป็นขั้นตอน ฉะนั้นจุดใดที่มีการปฏิบัติงานล่าช้าก็สามารถตรวจสอบได้รวดเร็ว จากผู้บังคับบัญชาในระดับนั้นได้ง่าย นอกจากนั้นผู้ปฏิบัติงานได้คลุกคลีกับสภาพของปัญหาที่เป็นจริงและเกิดขึ้นเสมอ ทำให้การตัดสินใจต่าง ๆ มีข้อมูลที่แน่นอน และสามารถตัดสินใจได้ถูกต้องรวดเร็ว ซึ่งส่งผลสะท้อนให้มีการปกครองบังคับบัญชาที่อยู่ในระเบียบวินัยได้ดี การติดต่อสื่อสารและการควบคุมการทำงานทำได้ง่าย ตลอดจนเมื่อ

ปรับแก้คะแนน แยกอธิบายส่วนต่างๆ

รูปภาพ
ปรับแก้คะแนน แยกอธิบายส่วนต่างๆ HARDWARE       Arduino UNO R3 โมดูลบลูทูธ HC - 05 2N2222 ทรานซิสเตอร์ NPN Transistor X 4 1N4007 ไดโอด X 4 รีเลย์ 12 V X 4 loads INPUT โมดูลบลูทูธ HC - 05 OUTPUT รีเลย์ 12 V X 4 loads SOFTWARE #include <SoftwareSerial.h> เรียกใช้ ไลบารี่ const int rxPin = 4; ใช้ขา4 const int txPin = 2; ใช้ขา2 SoftwareSerial mySerial(rxPin, txPin); กำหนดค่าลงใน ไลบารี่ const int Loads[] = {9, 10, 11, 12}; กำหนดค่าอาเรย์ int state = 0; ตัวแปล = 0 int flag = 0; ตัวแปล = 0 void setup() { for (int i=0;i<4;i++) ถ้าint i=0 และ i น้อยกว่า 4 สามารถให้ i บวกต่อไปได้เรื่อย { pinMode(Loads[i], OUTPUT); ให้โหลดเก็บค่าตัวแปรอาเรย์ i เป็น OUTPUT } mySerial.begin(9600); แสดงค่าทาง Serial begin(9600) for (int i=0;i<4;i++) ถ้าint i=0 และ i น้อยกว่า 4 สามารถให้ i ++ { digitalWrite(Loads[i], LOW); ให้Loads iเป็น LOW } } void loop() { if(mySe